โครงการวิจัย ปี 2559
โครงการวิจัยที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
•
ชุดเครื่องมือตรวจสอบความหอมของข้าวแบบพกพา
•
การวิเคราะห์ความหอมในข้าวด้วยเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปกโตรเมทรีและวิเคราะห์ความหอมในข้าวด้วยเครื่องจมูกเล็กทรอนิกส์
เพื่อจัดทามาตรฐานความหอมของข้าวขาวดอกมะลิ105
•
การพัฒนาการตรวจวิเคราะห์และประเมินการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารโทโคไตรอินอลโทโคฟิรอลและแกมมา-ออริซานอลในข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ
105 ที่มีอายุการเก็บรักษาต่างกัน
•
การตรวจสอบลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยเทคโนโลยีโฟโตนิคส์
•
สรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาของพันธุ์ข้าวรูปลักษณ์ใหม่ที่มีศักยภาพผลผลิตสูง
•
การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของข้าวพันธุ์ไทยโดยการชะลอภาวะการเสื่อมตามอายุของใบและเพิ่มการดูดกลับของธาตุอาหาร
•
โครงการการพัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์การปลอมปนในข้าวหอมมะลิเปลือกและข้าวหอมมะลิขาวอย่างรวดเร็วด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด
•
โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวทนน้าท่วมฉับพลัน
•
โครงการพัฒนาบุคลากรวิจัยด้านปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล
ภายใต้โครงการการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวนาชลประทานให้ทนต่อน้าท่วมฉับพลัน
ต้านทานโรคขอบใบแห้ง และเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล
โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือก
•
โครงการการพัฒนาแผนที่พันธุกรรมความเชื่อมโยงของยีนทางเลือกใหม่ในการค้นหายีนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะสาคัญทางการเกษตรและเศรษฐกิจในข้าว
•
ผลกระทบของการใช้เครื่องให้ความร้อนแบบไดอิเล็กตริกในการกาจัดมอดข้าวสารและระยะเวลาเก็บรักษาข้าวเปลือกต่อคุณภาพเมล็ดและความหอมของข้าวขาวดอกมะลิ
105
สรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาของข้าวศักยภาพผลผลิตสูง
PHYSIOLOGY and
MORPHOLOGY of HIGH YIELD POTENTIAL RICE
•
ค้นหาข้าวพันธุ์ที่มีลักษณะทางสัณฐานวิทยา และ สรีรวิทยา
ตามแบบของข้าวรูปลักษณ์ใหม่ (New Plant Type) ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาผลผลิตข้าวไทยให้สูงขึ้นจากข้าวสายพันธุ์ต่างๆ
ที่มีอยู่ใน gene bank ข้าวสายพันธุ์ดีเด่นจากโครงการปรับปรุงพันธุ์ต่างๆ
และจาก IRRIอย่างน้อย 400 สายพันธุ์
•
เชื่อมโยง Phenotype กับ Genotype โดยใช้วิธี Genome Wide Association Mapping (GWAS)
•
พัฒนา Molecular marker สาหรับลักษณะต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับผลผลิต เพื่อใช้โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวผลผลิตสูง
•
งบ วช. ปี 59
•
ระยะเวลาดาเนินการวิจัย 5ปี
การประเมินความแม่นยาในการวิเคราะห์การปลอมปนของข้าวพันธุ์อื่นในเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ
105 และ ปทุมธานี 1 ด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด
EVALUATION OF PRECISION
OF IDENTIFICATION ANALYSIS FOR OTHER SEED IN KHAODAWKMALI 105 AND PATHUMTHANI1
BY NEAR INFRARED TECHNIQUE
•
สืบเนื่องจากโครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์การปลอมปนในข้าวหอมมะลิเปลือกและข้าวหอมมะลิขาวอย่างรวดเร็วด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด” มีการสร้างสมการระบุพันธุ์แบบเมล็ดเดี่ยวสาหรับข้าวเปลือกพันธุ์ขาวดอกมะลิ
105 และปทุมธานี 1 สมการระบุพันธุ์รวมได้ถูกต้องที่ระดับ
98%จึงได้มีแนวคิดนาผลงานวิจัยดังกล่าวมาทดลองใช้ประโยชน์โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย
คือ
•
เพื่อทดสอบและปรับปรุงความแม่นยาของวิธีประเมินการปลอมปนข้าวพันธุ์อื่นในเมล็ดพันธุ์ขาวดอกมะลิ
105 และ ปทุมธานี 1 อย่างรวดเร็วด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรดที่ได้พัฒนาขึ้น
•
ผู้ดำเนินงานวิจัยหลัก: นางสาวรื่นฤดี แก้วชื่นชัย
โครงการชุดเครื่องมือตรวจสอบความหอมของข้าวแบบพกพา
(PORTABLE RICE AROMATIC
TEST SET)
•
ได้รับงบประมาณจากเงินรายได้ กรมการข้าว ปีงบประมาณ 2557
•
หัวหน้าโครงการ: นางสาวสุนันทา วงศ์ปิยชน
ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี
•
ผู้ดำเนินงานวิจัยหลักของ สวช. : นางสาวรัตนวรรณ
จันทร์ศศิธร
•
การทางานร่วมกันของกรมการข้าวกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(NECTEC)
วัตถุประสงค์
•เพื่อคัดแยกพันธุ์ข้าวและพัฒนาเครื่องมือตรวจสอบความหอมของข้าวที่สามารถทางานการดำเนินงาน
•ตรวจวัดความหอมของข้าวหอมพันธุ์ขาวดอกมะลิ105ปทุมธานี1และหอมสุพรรณบุรี
จากแหล่งปลูกต่างๆ พันธุ์ละ 3แห่ง เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องเปรียบเทียบกับที่อุณหภูมิ
15องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 8เดือน ด้วยเครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์ความหอมในข้าวด้วยเครื่องแก๊สโครมาโทกราฟี-แมสสเปก
โตรเมทรีและเครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์
•
ได้รับงบประมาณจากเงินรายได้ กรมการข้าว ปีงบประมาณ 2558
•
หัวหน้าโครงการ: นางสาวกฤษณา สุดทะสาร
ศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี
•
ผู้ดำเนินงานวิจัยหลัก: นางสาวรัตนวรรณ จันทร์ศศิธร
วัตถุประสงค์
• เพื่อจัดทำมาตรฐานความหอมของข้าวขาวดอกมะลิ
105 ด้วยเครื่อง GCxGC-TOFMS และใช้เป็นมาตรฐานในการเปรียบเทียบผลจากเครื่อง
E-Nose